Open Source IoT Platform ที่น่าสนใจ

IoT Platform คือ ระบบตัวกลางในการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ IoT ต่างๆ เพื่อ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการแสดงผลข้อมูลแบบกราฟฟิก (Dashboard) รวมถึงการจัดการอุปกรณ์ IoT ที่มีจำนวนมาก (Device Management) 


มาดู Open Source IoT Platform  ที่น่าสนใจกัน




  • แพลตฟอร์ม server-based ที่สร้างขึ้นบน Node.js
  • สามารถแปลง device เป็น API และพัฒนาให้อุปกรณ์สื่อสารกันผ่าน reactive programming และ Siren hypermedia optimized สำหรับ big data จึงสามารถนำไปประยุกต์เป็น data-intensive real time application ได้
  • มี virtualization tool สำหรับตัวระบบและอุปกรณ์ด้วย

Source Code https://github.com/zettajs/zetta





OpenRemote  https://openremote.io/

  • middleware ที่เน้นในการพัฒนาโซลูชั่น smart home และ home automation
  • สามารถทำงานร่วมกับอุปกรณ์และ network spec ได้หลายชนิด
  • มีเครื่องมือออกแบบ UI บน cloud
  • มี step by step guide ในการติดตั้ง ออกแบบ ไปจนถึงสร้างแอปพลิเคชันบนเว็บไซต์ให้สำหรับนักพัฒนามือใหม่

Source Code https://github.com/openremote/openremote




ThingsBoard  https://thingsboard.io/


Source Code https://github.com/thingsboard/thingsboard





Thinger https://thinger.io/


Source Code https://github.com/thinger-io





ThingSpeak https://thingspeak.com/

  • แพลตฟอร์ม IoT ที่มีประวัติยาวนานและมีความ reliable สูงตามอายุ
  • เน้นใช้งานในการแจ้งเตือน การติดตามตำแหน่ง และการ log เซ็นเซอร์ แต่ก็สามารถใช้งานในรูปแบบอื่นๆได้

Source Code https://github.com/iobridge/thingspeak




Particle https://www.particle.io/


Source Code https://github.com/particle-iot

SiteWhere https://sitewhere.io/

  • ถูกออกแบบมาเพื่อย่นระยะเวลาในการพัฒนา product ออกสู่ตลาด
  • สามารถนำไป deploy บน cloud platform ใดก็ได้ รวมถึง private cloud ด้วย
  • แพลตฟอร์ม SiteWhere เคยได้รับการทดสอบจากเวนเดอร์อย่าง Hortonworks และ Cloudera
  • สามารถสเกลขยายขนาดได้มาก จึงนำไปใช้งานกับระบบ big data ได้

Source Code https://github.com/sitewhere/sitewhere



DeviceHive https://devicehive.com/

  • framework สำหรับการสื่อสารแบบ machine to machine (M2M)
  • ทำงานผ่าน API บน cloud ซึ่งสามารถควบคุมแบบ remote ได้ตลอด
  • สามารถนำไปใช้ในแอปพลิเคชันด้านความปลอดภัย, smart home, เซ็นเซอร์, automation และอื่นๆอีกมากมาย
  • มีชุมชนนักพัฒนาที่มีความเคลื่อนไหวตลอดเวลาและพร้อมให้การ support

Source Code https://github.com/devicehive

ข้อดี ของ Open Source IoT Platform


ช่วยลดเวลาการพัฒนา ( Velocity of innovation )

ระบบที่เป็น Open Source ผู้พัฒนาได้ทำระบบเริ่มให้แล้ว ออกแบบ เตรียมเครื่องมือต่างๆ ไว้ให้ เพื่อสามารถเอาไป ต่อยอด ประยุกต์การใช้งานได้ทันที


หาคนมาดูแล แก้ไข พัฒนา ระบบได้ง่ายกว่า ( No Log-in )

ถ้าเป็นระบบงาน ที่ทำขึ้นโดยไม่ Open Source ข้อมูลการจัดทำต่างๆ รวมถึง Source Code นั้นถูกเก็บไว้กับผู้จัดทำ 

ดังนั้น ถ้าต้องการจะแก้ไข พัฒนา ก็ต้องขึ้นอยู่กับผู้จัดทำ ซึ่งจะหาคนมาดูแล พัฒนาเองก็ไม่สามารถทำได้


มีชุมชนของการพัฒนา ( Deveoper Community )

เมื่อเป็น Open Source ก็จะมีคนที่ช่วยเหลือกัน ในการแก้ปัญหาต่างๆ ในการรายงานปัญหา หรือ บักต่างๆ รวมถึง คนที่เก่งๆ ก็แก้ไขปัญหา หรือ บัก ให้ด้วย



Reference 

https://www.techtalkthai.com/10-opensource-software-tool-for-iot-by-cbr/





มาร่วมกันพัฒนาระบบ IoT

ผู้ที่ต้องการทำระบบ IoT อย่างเช่น Smart Home , Smart Farm หรือด้านอื่นๆ
มาร่วมมือพัฒนาเทคโนโลยีร่วมกัน 
สร้างสังคมแห่งเรียนรู้แบ่งบัน เพื่อพัฒนาธุรกิจ ความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น
ผู้ที่สนใจ มาร่วมมือกันได้ครับ



อดุลย์ นันทะแก้ว 081-6452400
LINE : adunnan




ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Llama3 Typhoon v1.5 (scb10x) LLM

Eval Llama v3.1 8B ,70B Model with Thai Language

LLAMA-CPP-PYTHON on RTX4060 GPU